รายงานข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ประกอบการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ รหัส ง23101
ประกอบการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ รหัส ง23101
เรื่อง ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
จัดทำโดย
1) ด.ช.พิเชษฐ์ ลิลากุด เลขที่ 12
2) ด.ญ.กรรณาภรณ์ สรรพสุข เลขที่ 23
3) ด.ญ.เกศริน ทัศนา เลขที่ 26
4) ด.ญ.ชนกานต์ ธุตกิจ เลขที่ 27
5) ด.ญ.พศินาภาวิ์ ศรีธนิยาภรณ์ เลขที่ 40 6) ด.ญภัชรินทร์ สังขจันทร์ เลขที่42 7) ด.ญ.ภูธยา ปรีชามาตย์ เลขที่ 43
คุณครู สุศิวกัญญา ปรางสร
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาคอมพิวเตอร์เทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 1ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม
1.ความสำคัญของการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ คือ ผลงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าตามความสนใจ ความถนัดและความสามารถของผู้เรียน โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ โครงงานเป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีการเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยผู้เรียนจะหาหัวข้อโครงงานที่ตนเองสนใจ รวมทั้งเชื่อมโยงความรู้ต่างๆและความรู้ด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อสร้างผลงานตามความต้องการได้อย่างเหมาะสม โดยมีครูเป็นที่ปรึกษาและให้คำแนะนำ
2.ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียนได้รู้จักวิธีการออกแบบ เริ่มตั้งแต่กำหนดคุณสมบัติของสิ่งที่ต้องการออกแบบ การรู้จักเลือกใช้เทคโนโลยีต่างๆ และมีความคิดสร้างสรรค์
โครงงานคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งได้ 5 ประเภท ดังนี้
2.1 โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
![]() |
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการสื่อสาร |
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาหรือสื่อการเรียนรู้ หมายถึง เครื่องมือสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเข้าถึงความรู้ ทักษะกระบวนการ และคุณลักษณะ ตามมาตราฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ สื่อการเรียนรู้มีหลายประเภท ทั้งสื่อธรรมชาติ สื่อสิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยี และ เครือข่ายการเรียนรู้ต่างๆ ที่มีในท้องถิ่น การเลือกใช้สื่อควรเลืกให้มีความเหมาะสมกับระดับ พัฒนาการ
และความสามารถของผู้เรียน
2.2 โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
![]() |
โครงงานเพื่อสร้างฮารด์แวร์เช่น ฮาร์ดดิสก์ขนาดเล็กที่มีจุข้อมูลสูง |
เครื่องมือหมายถึง ฮาร์ดแวร์คอมพิวเตอร์หรือซอร์ฟแวร์คอมพิวเตอร์โครงงานพัฒนาเครื่องมือหมายถึงโครงงานเพื่อสร้างฮาร์ดแวร์เช่นฮาร์ดดิสขนาดเล็กที่มีความจุข้อมูลสูงหรือการพัฒนาซอฟแวร์ที่ช่วยงานด้านต่างๆ เช่น การซอฟแวร์ด้านการประมวลคำ สามารถจัดทำเอกสารและจัดรูปแบบงานตามความต้องการ
2.3 โครงงานทดลองทฤษฎี
![]() |
ตัวอย่างโครงงานทดลองเช่น เรื่องการไหลของของเหลว |
โครงงานทดลองทฤษฏีเป็นโครงงานที่พิสูจน์หรือตรวจสอบ ข้อเท็จจริง โดยใช้คอมพิวเตอร์จำลองสถานการณ์ต่างๆ ที่ผู้ทดลองไม่สามารถทดลองในสถานการณ์จริงได้ เนื่องจากอาจก่อให้เกิด อันตรายต่อผู้ทดลอง โครงงานนี้ผู้ศึกษาต้องรวบรวมทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง และเสนอแนวคิดเป็นแบบจำลองที่เป็นสูตรหรือสมการแล้วคอมพิวเตอร์ จึงแสดงผลเป็นภาพเพื่อให้ผู้ทดลองเข้าใจมากขึ้น
2.4 โครงงานประยุกต์ใช้งาน
![]() |
ตัวอย่างโครงงานประยุกต์เช่น โครงงานหุ่นยนต์จำลองการเก็บขยะ |
2.5 โครงงานพัฒนาโปรแกรมประยุกต์
![]() |
ตัวอย่างโครงงานโปรแกรมประยุกต์ เช่นโปรแกรมเกมที่สร้างขึ้น |
3.ขั้นตอนการพัฒนาโครงงาน
การจัดทำโครงงานคอมพิวเตอร์ถือเป็นกระบวนการในการทำโครงงงานที่ต้องดำเนินการอย่างเป็นลำดับขั้นตอนเพื่อให้เกิดประโยชน์มากที่สุดต่อการพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยมีขั้นตอนดังต่อไปนี้
3.1การคัดเลือกหัวข้อโครงงาน
3.2การศึกษาค้นคว้าจากเอกสารและแหล่งข้อมูล
3.3 การจัดทำข้อเสนอโครงงาน
องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
1.ชื่อโครงงาน ต้องสื่อว่าทำอะไรกับใครเพื่ออะไรเช่นโครงงานโครงงานสื่อเพื่อพัฒนาเพื่อการศึกษา โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
2.ชื่อผู้จัดทำ ระบุถึงผู้รับผิดชอบโครงงานอาจเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคลก็ได้
3.ครูที่ปรึกษา ระบุชื่อสกุล ของครูผู้ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาควบคุมของการทำโครงงาน ของนักเรียน
4.ระยะเวลาการดำเนินงาน ให้ระบุซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบริหารจัดการเพื่อใช้วางแผนควบคุมการทำงาน
5.แนวคิดที่มา อธิบายถึงสาเหตุที่เลือกทำโครงงานกล่าวถึงความคาดหวังที่จะเกิดผล
6.วัตถุประสงค์ ระบุสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้น เมื่อสิ้นสุดโครงงานนนี้ในเชิงกระบวนการและผลลัพธ์ที่ได้
7.หลักการทฤษฎี อธิบายหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องที่นำมาใช้ในโครงงาน
8.วิธีการดำเนินงาน กล่าวถึงกิจกรรมหรือขั้นตอนการดำเนินงาน
9.ขั้นตอนการปฎิบัติ กล่าวถึง วันเวลาและการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจบเสร็จสิ้น
10.ผลที่คาดว่าจะได้รับ ระบุถึงสภาพของผลที่ต้องการให้เกิดรวมถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น
11.เอกสารอ้างอิง ระบุชื่อเอกสารแหล่งข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ ที่นำมาใช้ในการดำเนินการ
3.4 การพัฒนาโครงงาน
3.5 การเขียนรายงานโครงงาน
3.6 การนำเสนอและแสดงโครงงาน
4.คุณลักษณะของโครงงานที่ดี
โครงานที่ดีจะต้องมีคุณลักษณะ ดังนี้
1.สามารถตอบสนองความต้องการหรือแก้ปัญหาของโครงงานได้อย่างครบถ้วน
2.เป็นไปตามขอบเขตที่กำหนดไว้
3.สามารถดำเนินการเป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้และเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4.ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อคุณภาพชีวิตในด้านต่างๆ
ในการทำโครงานคอมพิวเตอร์ที่ดีจะต้องคำนึงถึงประโยชน์ที่จะได้รับ และต้องมีคุณลักษณะที่ดีตามที่กล่าวข้างต้น แต่ทั้งนี้ก็ต้องคำนึงถึงผลกระทบในทางลบที่อาจเกิดขึ้นจากการทำโครงงานซึ่งผู้จัดทำอาจต้องหลีกเลี่ยง โดยจะต้องคำนึงถึงผลกระทบทางลบในด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรม และด้านสิ่งแวดล้อม
5.การประเมินผลโครงงาน
การประเมินผลโครงงานเป็นการวัดคุณภาพของผลงานว่ามีคุณภาพเพียงใด โดยอาศัยเกณฑ์ดังข้อข้างล่าง ทั้งนี้ นักเรียนควรทราบเกณฑ์สำหรับการประเมินผล เพื่อสร้างผลงานที่มีคุณภาพ
1.คัดเลือกหัวข้อ
- ความชัดเจนในหัวข้อโครงงาน
-ความเข้าใจหัวข้อโครงงาน
2.ศึกษาค้นคว้าข้อมูล
-ความถูกต้องของแนวคิด/ ทฤษฎี
-ความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล
3.ข้อเสนอโครงงาน
-ความถุกต้องและสมบูรณ์ของข้อเสนอโครงงาน
-การเชื่อมโยงขององค์ประกอบต่างๆของหัวข้อโครงงาน
4.พัฒนาโครงงาน
-ความถูกต้องของการออกแบบ
-ความถูกต้องของระบบงาน
-ความสำเร็จของโครงงานตามกำหนดการ
-การเข้าพบครูที่ปรึกษาอย่างสม่ำเสมอ
5.รายงานโครงงาน
-ความถูกต้องและสมบูรณ์ของรายงานโครงงาน
-การเชื่อมโยงขององค์ประกอบต่างๆของรายงานโครงงาน
การเรียนรู้การจัดทำโครงงานนั้น จะทำให้ผู้เรียนได้นำความรู้พื้้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ หลักการและกระบวนการที่ใช้ในการแก้ปัญหา หลักการเขียนโปรแกรมการวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรม มาเป็นพื้นฐานในการสร้างความรู้ใหม่ โดยมีครูที่ปรึกษาให้คำแนะนำอย่างต่อเนื่อง และุทำให้ผู้เรียนเขียนรายงานสรุปได้อย่างมีขั้นตอน
6.การศึกษาผลกระทบของโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ที่พัฒนาขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึันในสังคมให้ดีขึ้น หากแต่มนุษย์จะเป็นผู้เลือกที่จะนำไปใช้ในทางที่ถูกหรือในทางที่ผิด ดังนั้น ผู้พัฒนาควรตระหนักในเรื่องผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อคุณภาพชีวิตของคนในสังคม เพื่อหาแนวทางป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ โดยผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อคุณภาพชีวิตของคนในสังคมมีดังนี้
1. ด้านเศรษฐกิจ หมายถึง ผลงานของโครงงานกระทบกับการซื้อขาย การจับจ่ายใช้สอยและรายได้ของคนในสังคม
2.ด้านสังคมและวัฒนธรรม หมายถึง ผลงานของโครงงานกระทบกับวิถีการดำเนินชีวิต ความเชื่อ และขนบธรรมเนียมประเพณีของคนในสังคม
3.ด้านสิ่งแวดล้อม หมายถึง ผลงานของโครงงานกระทบกับทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ ภูเขา ดิน น้ำ อากาศ
1.ชื่อโครงงาน ต้องสื่อว่าทำอะไรกับใครเพื่ออะไรเช่นโครงงานโครงงานสื่อเพื่อพัฒนาเพื่อการศึกษา โครงงานพัฒนาเครื่องมือ
2.ชื่อผู้จัดทำ ระบุถึงผู้รับผิดชอบโครงงานอาจเป็นรายกลุ่มหรือรายบุคคลก็ได้
3.ครูที่ปรึกษา ระบุชื่อสกุล ของครูผู้ทำหน้าที่เป็นที่ปรึกษาควบคุมของการทำโครงงาน ของนักเรียน
4.ระยะเวลาการดำเนินงาน ให้ระบุซอฟต์แวร์ที่ช่วยในการบริหารจัดการเพื่อใช้วางแผนควบคุมการทำงาน
5.แนวคิดที่มา อธิบายถึงสาเหตุที่เลือกทำโครงงานกล่าวถึงความคาดหวังที่จะเกิดผล
6.วัตถุประสงค์ ระบุสิ่งที่ต้องการให้เกิดขึ้น เมื่อสิ้นสุดโครงงานนนี้ในเชิงกระบวนการและผลลัพธ์ที่ได้
7.หลักการทฤษฎี อธิบายหลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องที่นำมาใช้ในโครงงาน
8.วิธีการดำเนินงาน กล่าวถึงกิจกรรมหรือขั้นตอนการดำเนินงาน
9.ขั้นตอนการปฎิบัติ กล่าวถึง วันเวลาและการดำเนินงานกิจกรรมต่างๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจบเสร็จสิ้น
10.ผลที่คาดว่าจะได้รับ ระบุถึงสภาพของผลที่ต้องการให้เกิดรวมถึงผลกระทบที่เกิดขึ้น
11.เอกสารอ้างอิง ระบุชื่อเอกสารแหล่งข้อมูลที่ได้จากแหล่งต่างๆ ที่นำมาใช้ในการดำเนินการ
3.4 การพัฒนาโครงงาน
3.5 การเขียนรายงานโครงงาน
3.6 การนำเสนอและแสดงโครงงาน
4.คุณลักษณะของโครงงานที่ดี
โครงานที่ดีจะต้องมีคุณลักษณะ ดังนี้
1.สามารถตอบสนองความต้องการหรือแก้ปัญหาของโครงงานได้อย่างครบถ้วน
2.เป็นไปตามขอบเขตที่กำหนดไว้
3.สามารถดำเนินการเป็นไปตามแผนที่กำหนดไว้และเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่กำหนด
4.ไม่ก่อให้เกิดผลกระทบทางลบต่อคุณภาพชีวิตในด้านต่างๆ
ในการทำโครงานคอมพิวเตอร์ที่ดีจะต้องคำนึงถึงประโยชน์ที่จะได้รับ และต้องมีคุณลักษณะที่ดีตามที่กล่าวข้างต้น แต่ทั้งนี้ก็ต้องคำนึงถึงผลกระทบในทางลบที่อาจเกิดขึ้นจากการทำโครงงานซึ่งผู้จัดทำอาจต้องหลีกเลี่ยง โดยจะต้องคำนึงถึงผลกระทบทางลบในด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคมและวัฒนธรรม และด้านสิ่งแวดล้อม
5.การประเมินผลโครงงาน
การประเมินผลโครงงานเป็นการวัดคุณภาพของผลงานว่ามีคุณภาพเพียงใด โดยอาศัยเกณฑ์ดังข้อข้างล่าง ทั้งนี้ นักเรียนควรทราบเกณฑ์สำหรับการประเมินผล เพื่อสร้างผลงานที่มีคุณภาพ
1.คัดเลือกหัวข้อ
- ความชัดเจนในหัวข้อโครงงาน
-ความเข้าใจหัวข้อโครงงาน
2.ศึกษาค้นคว้าข้อมูล
-ความถูกต้องของแนวคิด/ ทฤษฎี
-ความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูล
3.ข้อเสนอโครงงาน
-ความถุกต้องและสมบูรณ์ของข้อเสนอโครงงาน
-การเชื่อมโยงขององค์ประกอบต่างๆของหัวข้อโครงงาน
4.พัฒนาโครงงาน
-ความถูกต้องของการออกแบบ
-ความถูกต้องของระบบงาน
-ความสำเร็จของโครงงานตามกำหนดการ
-การเข้าพบครูที่ปรึกษาอย่างสม่ำเสมอ
5.รายงานโครงงาน
-ความถูกต้องและสมบูรณ์ของรายงานโครงงาน
-การเชื่อมโยงขององค์ประกอบต่างๆของรายงานโครงงาน
การเรียนรู้การจัดทำโครงงานนั้น จะทำให้ผู้เรียนได้นำความรู้พื้้นฐานเกี่ยวกับการทำงานของเครื่องคอมพิวเตอร์ หลักการและกระบวนการที่ใช้ในการแก้ปัญหา หลักการเขียนโปรแกรมการวิเคราะห์และออกแบบโปรแกรม มาเป็นพื้นฐานในการสร้างความรู้ใหม่ โดยมีครูที่ปรึกษาให้คำแนะนำอย่างต่อเนื่อง และุทำให้ผู้เรียนเขียนรายงานสรุปได้อย่างมีขั้นตอน
6.การศึกษาผลกระทบของโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่ที่พัฒนาขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึันในสังคมให้ดีขึ้น หากแต่มนุษย์จะเป็นผู้เลือกที่จะนำไปใช้ในทางที่ถูกหรือในทางที่ผิด ดังนั้น ผู้พัฒนาควรตระหนักในเรื่องผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อคุณภาพชีวิตของคนในสังคม เพื่อหาแนวทางป้องกันปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ โดยผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อคุณภาพชีวิตของคนในสังคมมีดังนี้
1. ด้านเศรษฐกิจ หมายถึง ผลงานของโครงงานกระทบกับการซื้อขาย การจับจ่ายใช้สอยและรายได้ของคนในสังคม
2.ด้านสังคมและวัฒนธรรม หมายถึง ผลงานของโครงงานกระทบกับวิถีการดำเนินชีวิต ความเชื่อ และขนบธรรมเนียมประเพณีของคนในสังคม
3.ด้านสิ่งแวดล้อม หมายถึง ผลงานของโครงงานกระทบกับทรัพยากรธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ ภูเขา ดิน น้ำ อากาศ
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น